วันอังคารที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556

สัมมนาวันที่ ๑๖-๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ เรื่อง : ครบเ0ครื่องเรื่องปัญหากฎหมายคุ้มครองแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้างและฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องรู้ ๒๐๑๓ (068)

 

 

 พิเศษ !!   สมัครและชำระภายในวันที่ 11 ตุลาคม 2556 ชำระเพียงท่านละ (8,500) บาทก่อน VAT

              สมัครเข้าร่วม 2 ท่านลดทันที 500 บาท เหลื่อท่านละ (8,000) บาทก่อน VAT

              ราคาสมาชิก บจก. สเพลนดิด เซสชั่น อยู่ที่ท่านละ  (7,000)ก่อน VAT

                       (สามารถเลือกใช้สิทธิ์ได้เพียง 1 สิทธิ์เท่านั้น)

      

เรียน ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์/ฝ่ายบริหารงานบุคคล 

 

Splendid Sessions Co.,Ltd.

บริษัท สเพลนดิด เซสชั่น จำกัด

สัมมนาเรื่อง:

ครบเครื่องเรื่องปัญหากฎหมายคุ้มครองแรงงาน

ที่นายจ้าง ลูกจ้างและฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องรู้ ๒๐๑๓

(หลักสูตรสามารเก็บชั่วโมง CPD ได้ เป็นชั่วโมง อื่นๆ (๑๒ ชม.)

บรรยายภาษาไทย วันที่ ๑๖-๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖

ณ. โรงแรมดิเอมเมอรัล รัชดา กรุงเทพฯ

เวลา ๐๙.๐๐ น.  ๑๗.๐๐ น.

*** วิทยากรผู้บรรยายภาครัฐ **

เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแรงงาน

สามารถอธิบายได้ตรงประเด็น ชัดเจน เข้าใจและนำไปใช้ได้จริง

มีประสบการณ์การบรรยายมากว่า 25 ปี

 

   ++ ภาพรวมสัมมนา ++

กฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็นกฎหมายพื้นฐานสำคัญที่นายจ้างและลูกจ้างและฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องทำความเข้าใจให้ดี เพื่อให้การจ้างแรงงานเป็นไปอย่างดี และหลีกเลี่ยงข้อขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือจากการที่มิไม่ได้ศึกษาหรือทำความเข้าใจกฎหมายอย่างถ่องแท้โดย สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถวางแผนกำลังคนให้สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร ตลอดจน เพื่อให้สามารถเข้าใจประเด็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยุติธรรม เพื่อลดช่องว่าง หรือความขัดแจ้งระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง เพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์กร

      การอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้เรียนรู้ ถึงเทคนิคการทำสัญญาจ้างสัญญาเลิกจ้างแรงงาน การออกหนังสือเตือนเมื่อลูกจ้างกระทำผิด อีกทั้งยังรู้ถึงบทบาทหน้าที่ของลูกจ้าง สัญญาสวัสดิการต่างๆที่ชอบด้วยกฎหมาย  เพื่อลดข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างให้เข้าใจถึงประเด็นปัญหาเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน   UPDATE คำพิพากษาศาลฎีกา เกี่ยวกับประเด็นกฎหมายคุ้มครองแรงงงานที่นายจ้างลูกจ้างมักกระทำผิด ที่ท่านอาจไม่เคยรู้มาก่อน ที่สำคัญยังสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในกิจการของท่านได้

หัวข้อการบรรยายวันพุธที่ 16 ตุลาคม พ.ศ 2556

09.00น. - 10.30น. UPDARE กฎหมายคุ้มครองแรงงาน และ ข้อควรระวังในการทำสัญญาจ้างที่นายจ้างและลูกจ้างต้องรู้ (1.30 ชั่วโมง)

·       ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน 2551และพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ 2518

·       ความรู้เกี่ยวกับพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541 และพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่2) 2551

·       วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการเหมาช่วงงานตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฯ มาตรา 12 กับการใช้แรงงานภายนอก(outsourcing)ตามมาตรา 11/1 

·       หลักการตีความที่สำคัญและประเด็นปัญหาด้านกฎหมายแรงงานที่ต้องรู้

·       ลักษณะสำคัญและข้อควรระวังในการทำสัญญาจ้างระหว่าง "นายจ้าง" และ "ลูกจ้าง"ที่ไม่ควรมองข้าม

·       เทคนิคการทำสัญญาจ้างแรงงานที่ถูกต้อง และ องค์ประกอบสำคัญต่างๆที่ควรระบุในสัญญาจ้างแรงงานเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดแก่นายจ้างในอนาคต

·       หลักเกณฑ์ใดที่กฎหมายแรงงานถือว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงานและไม่ถือว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงาน

·       รูปแบบสัญญาจ้างแรงงาน ระยะเวลาการค้ำประกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้างและปัญหาที่มักเกิดขึ้นในระหว่างการว่าจ้าง

10.30น. - 10.45น. รับประทานอาหารว่าง ชา กาแฟ ช่วงเช้า (15 นาที)

10.45น. - 12.15น. UPDARE กฎหมายแรงงานเกี่ยวกับ ข้อบังคับการทำงาน และ หลักประกันการทำงานที่ต้องรู้  (1.30 ชั่วโมง)

·       Update พระราชบัญญัติตุ้มครองแรงงาน มาตรา 108 ความสำคัญของการมีข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน ประกาศข้อบังคับที่ใช้บังคับลูกจ้างควรมีหรือไม่ อย่างไร

·       ระเบียบข้อบังคับในการทำงานและการลงโทษทางวินัยรวมถึงการแก้ไขปัญหาที่นายจ้างมีสิทธิพึงระบุ เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดจากลูกจ้าง

·       ข้อตกลงในสัญญาจ้าง ข้อบังคับการทำงาน หากตกลงเอาเปรียบลูกจ้างเกินสมควร ศาลแรงงานมีอำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างไร

·       ข้อสงวนสิทธิของฝ่ายนายจ้างในการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับฯฝ่ายเดียว เหตุใดจึงทำไม่ได้

·       หลักประกันการทำงาน นายจ้างเรียกประกันไม่ว่าเงิน ทรัพย์สินหรือค้ำประกันด้วยบุคคลไม่ได้ งานใดเป็นข้อยกเว้น หลักประกันที่เรียกได้มีอะไรบ้าง มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไรบ้าง  ข้อห้ามเรียกหลักประกันการทำงานกับข้อห้ามเรียกหลักประกันความเสียหายจากการทำงานแตกต่างกันอย่างไร

·       นายจ้างไม่คืนหลักประกันกรณีลูกจ้างลาออกไม่ถูกต้องทำได้หรือไม่ ฯลฯ

12.15น. -13.30น. รับประทานอาหารกลางวัน(International Buffed Lunch) (1.15 ชั่วโมง)

13.30น.-15.00 น. สิทธิที่นายจ้างพึงมีในการกำหนดหลักเกณฑ์การทดลองงานของลูกจ้าง (1.30 ชั่วโมง)

·       นายจ้างจ้างลูกจ้างชั่วคราว 6 เดือน แล้วประเมิน ผลงานดีจ้างเป็นลูกจ้างประจำ ผลงานไม่ดี ไม่ต่อสัญญา ทำไมเป็นจ้างทดลองงาน

·       การประเมินผลการทดลองงาน ประเมินเมื่อใดก็ได้ หรือต้องให้ครบกำหนดเวลาทดลองงานเสียก่อน

·       หากลูกจ้างไม่ผ่านทดลองงานต้องบอกกล่าวล่วงหน้า จ่ายค่าชดเชยหรือไม่ อย่างไร

·       ลูกจ้างไม่ผ่านทดลองงานแล้ว ทดลองงานอีกได้หรือไม่ นับอายุงานอย่างไร ฯลฯ

15.00 น.-15.15 น. รับประทานอาหารว่าง ชา กาแฟ ช่วงบ่าย (15 นาที)

15.15น.-16.45 น.  วันเวลาทำงาน เวลาพัก  วันหยุดและวันลาของลูกจ้างที่ชอบด้วยกฎหมายคุ้มครองแรงงาน (1.30 ชั่วโมง)

·       หลักเกณฑ์สำคัญเกี่ยวกับการหยุด ลา มาสายที่ต้องรู้  กรณีใดถือว่าทำผิดร้ายแรงงานและไม่ร้ายแรง

·       วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปี กำหนดอย่างไรจึงชอบกฎหมาย

·       นายจ้างทำงาน 5 วันวันละ 9 ชั่วโมง ทำได้หรือไม่ สำหรับลูกจ้างรายวัน รายเดือนมีผลต่างกันอย่างไร

·       การพักต่อท้าย หากไม่ทำงานล่วงเวลากลับบ้านได้เลย โดยไม่ต้องพักจริงทำได้หรือไม่ การพักก่อนทำงานล่วงเวลาทำอย่างไร

·       วันหยุดตามประเพณีประกาศแล้วเปลี่ยนไปหยุดวันอื่นได้หรือไม่ ผลเป็นอย่างไร

·       หากลูกจ้างไม่หยุดพักผ่อนประจำปี นายจ้างต้องจ่ายเงินหรือไม่

·       ปัญหาเรื่องการลาป่วย การลาป่วยเท็จ ลูกจ้างรายเดือนขาดงาน ทำไมหักค่าจ้างไม่ได้  ฯลฯ

** หัวข้อการบรรยายวันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม พ.ศ 2556 **

09.00น.-10.30น.สิทธิหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้างที่พึงปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ข้อควรระวังเกี่ยวกับค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าตอบแทน (1.30 ชั่วโมง)

·       สิทธิหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้างที่พึงปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน

·       ข้อแตกต่างในกรณีหากเกิดการเลิกจ้าง: โดยจ่ายค่าตอบแทนและไม่จ่ายค่าตอบแทน

·       กรณีที่ลูกจ้างเซ็นสัญญายอมลาออกโดยได้รับเงินช่วยเหลือทำได้หรือไม่

·       เงินใดเป็นค่าจ้าง ทำไมค่าคอมมิชชั่นเป็นค่าจ้าง ทั้งที่จ่ายจำนวนไม่แน่นอนและไม่เท่ากันทุกเดือน

·       ค่ากะ ค่าตำแหน่ง ค่าครองชีพ ค่าเที่ยว ค่าเบี้ยเลี้ยง เบี้ยกันดาร ค่าน้ำมันรถ ค่าทิป ค่าบริการ เบี้ยขยัน เงินเป้า เงินเพิ่มจูงใจ  ฯลฯ เป็นค่าจ้างหรือไม่ เพราะเหตุใด

·       การทำงานล่วงเวลา ทำงานในวันหยุดแล้ว compensate เป็นเวลาทำงานได้หรือไม่ และ การเหมาค่าล่วงเวลาทำได้หรือไม่

·       ความหมาย และ หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลาและสิทธิของลูกจ้างในการทำงานล่วงเวลามีอะไรบ้าง

·       ลูกจ้างประเภทใดห้ามทำงานล่วงเวลาและลูกจ้างประเภทใดสามารถสามารถทำงานล่วงเวลาได้

·       กรณีการจ่ายค่าล่วงเวลา  ล่วงเวลาในวันหยุด จ่ายอย่างไร เหมาจ่ายได้หรือไม่  ใช้อัตราใดในการคำนวณอย่างไร

·       สามารถให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา ทำงานในวันหยุดสามารถให้หยุดวันอื่นแทนได้หรือไม่(โดยไม่ต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดได้หรือไม่)

·       ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษแตกต่างกันอย่างไร

10.30น.-10.45น. รับประทานอาหารว่าง ชา กาแฟ ช่วงเช้า (15 นาที)

10.45น.-12.15น. หลักเกณฑ์การลงโทษทางวินัยที่นายจ้างมีสิทธิพึงกระทำต่อลูกจ้าง (1.30 ชั่วโมง)

·       หากการกระทำผิดใด ไม่ได้ระบุไว้ในระเบียบข้อบังคับ จะลงโทษได้หรือไม่

·       ระเบียบเขียนไว้อย่างไร เกี่ยวกับวินัยร้ายแรง และไม่ร้ายแรงใช้บังคับได้หรือไม่

·       พนักงานถูกจับกุมดำเนินคดีอาญา บริษัทฯ จะเลิกจ้างได้เมื่อใด

·       หลักเกณฑ์การตักเตือนเป็นหนังสือ การทราบหนังสือเตือน ไม่ลงชื่อแต่ทราบหนังสือเตือนทำอย่างไร

·       หลักการออกหนังสือเตือน  /คำสั่งพักงาน กรณีลูกจ้างทำผิดร้ายแรงและไม่ร้ายแรง

·       การพักงานระหว่างสอบสวนความผิด ทำอย่างไรจึงจะถูกต้อง ฯลฯ

12.15น. -13.30น. รับประทานอาหารกลางวัน(International Buffed Lunch) (1.15 ชั่วโมง)

13.30น.-15.00 น. การสิ้นสุดสัญญาจ้างอย่างไรให้เป็นธรรม ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง  (1.30 ชั่วโมง)

·       การสิ้นสุดสัญญาจ้าง  การเลิกจ้าง การลาออก การตกลงเลิกสัญญามีผลแตกต่างในทางกฎหมายเช่นใด

·       การสิ้นสุดสัญญาจ้างที่ชอบด้วยกฎหมายอย่างไรให้เป็นธรรม ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง

·        หลักเกณฑ์การพิจารณาว่าเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

o    กรณีหย่อนความสามารถ กรณีประพฤติผิด

o    กรณีเหตุผลทางเศรษฐกิจ

·       ผลเสียที่นายจ้างอาจได้รับ หากเกิดปัญหาและคดีแรงงานเกี่ยวกับการฟ้องร้องสัญญาจ้างไม่เป็นธรรม

·       ประเด็นปัญหาที่มักก่อให้เกิดจากสัญญาจ้างที่เป็นโมฆะ

·       ข้อบังคับใดบ้างที่นายจ้างได้ประโยชน์จากการจ้างทดลองงานของลูกจ้าง

·       การบอกเลิกสัญญาจ้างกรณีไม่ผ่านทดลองงานและข้อยกเว้นไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้ากำหนด

·       การตกลงเลิกสัญญาในรูปการเกษียณอายุก่อนกำหนด

·       หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการบอกเลิกสัญญาจ้าง ทั้งกรณีลูกจ้างลาออกและนายจ้างเลิกจ้าง

15.00 น.-15.15 น. รับประทานอาหารว่าง ชา กาแฟ ช่วงบ่าย (15 นาที)

15.15น.-16.45 น.  ถามตอบปัญหาข้อสงสัย (1.30 ชั่วโมง)

·       Update คำพิพากษาศาลฎีกา เกี่ยวกับประเด็นกฎหมายคุ้มครองแรงงงานที่นายจ้างลูกจ้างมักผิดพลาด

·     UPDATE กฎหมายแรงงานใหม่และ อัตราค่าจ้างขั้นต่ำประจำปี 2556

·     ถาม  ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากวิทยากร        

พิเศษ !!   สมัครและชำระภายในวันที่ 11 ตุลาคม 2556 ชำระเพียงท่านละ (8,500) บาทก่อน VAT

               สมัครเข้าร่วม 2 ท่านลดทันที 500 บาท เหลื่อท่านละ (8,000) บาทก่อน VAT

   ราคาสมาชิก บจก. สเพลนดิด เซสชั่น อยู่ที่ท่านละ  (7,000)ก่อน VAT

                                (สามารถเลือกใช้สิทธิ์ได้เพียง 1 สิทธิ์เท่านั้น)

 

อบรมสัมมนา

วันที่ 16-17 ต.ค 56

ราคาปกติ

ราคาพิเศษชำระภายใน

วันที่ 11 ตุลาคม 56

สมัคร 2 ท่าน

ได้ส่วนลด500 บ.

ต่อท่าน

ราคาสมาชิก

บจก.สเพลนดิด

ต่อท่าน

 

ค่าอบรมสัมมนา

9,000

8,500

8,000

7,000

 

ภาษีมูลค่าเพิ่ม7%

630

595

560

490

 

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย3%

(270)

(255)

(240)

(210)

 

ยอดสุทธิ

9,360

8,840

8,320

7,280

 

 

 

++ค่าใช้จ่ายในการเข้าสัมมนาสามารถนำไปหัก ค่าใช้จ่ายทางบริษัท ได้ 200%++

ติดต่อ บริษัท สเพลนดิด เซสชั่น จำกัด

Tel: 02-248-8457/ 02-248-3098 (hotline) MB:085-8209000,081-256-7328Fax: 02-248-4349/02-2486586
Email: info@splendidsessions.com,tax.labor.law@gmail.com Website: http://www.splendidsessions.com

If you do not wish to be on our mailing list , (DELETE MAIL on Subject) please reply to 
" maildeletesplendidsessions@gmail.com"we will unsubscribe you in our mailing list. Thank you.
หากท่านไม่ประสงค์จะได้รับ อีเมล์ ประชาสัมพันธ์จากทางบริษัท โดยการแจ้ง DELETE MAIL บน Subject 
และกรุณาส่งข้ออีเมล์ที่" maildeletesplendidsessions@gmail.com" ทางเราจะดำเนินการลบ อีเมล์

 

 สนใจเข้าร่วมอบรมกรุณาอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในไฟล์แนบ

**ขออภัยหากอีเมล์นี้รบกวนท่าน**

 ขอแสดงความนับถือ

เอริษา(0812567328)

SPLENDID SESSIONS CO., LTD.

Thank you very much

186/5 Soi Ratchataphan  Ratchaprarob Rd.

Markasan Ratchatawee Ave.

Bangkok Thailand 10400

Tel.     : 02 2488457/02-2483098

Fax.     : 02-2484349/02-2486586

Mobile. : 085-8209000 OR 081-2567328

Email 1. Register@splendidsessions.com

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น